วิธีการขออัพภาน
ภิกษุผู้ประพฤติปริวาสพอสมควรและถูกต้องตามพระวินัยแล้วชื่อว่าเป็นมานัตตารหะผู้ควรแก่มานัต
เมื่อมานัตตจาริกภิกษุประพฤติมานัต
๖ ราตรี โดยวินัยแล้ว ชื่อว่าเป็น "อัพภานารหะ ผู้ควรอัพภาน" เมื่อจะขออัพภาน
พึงเตรียมดอกไม้ธูปเทียนให้พร้อม ห่มผ้าเฉวียงบ่า(ห่มดองรัดอกแบบจีบจีวร) เข้าไปหาสงฆ์อย่างน้อย ๒๐ รูป
ในเขตพัทธสีมา แล้วถวายเครื่องสักการะ
ดอกไม้ธูปเทียน ครั้นถวายสักการะแล้วนั่งคุกเข่ากราบ ๓ หน ตั้งนะโม
๓ จบ
อยห่างจากหัตถบาสสงฆ์ในระยะพอสมควร แล้วกล่าวคำสมาทาน มานัต
(ดังคำสมาทานมานัตที่กล่าวไว้
ข้างต้นแล้ว)เมื่อกล่าวคำสมาทานมานัตแล้ว จึงถอยห่างจากหัตถบาสสงฆ์ในระยะพอสมควร แล้วบอกมานัตต่อสงฆ์
(ดังคำสมาทานและ
คำบอก
ที่กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว)เมื่อได้กล่าวมานัตแล้ว
จึงเข้าไปในหัตถบาสสงฆ์ แล้วกล่าวคำขออัพภาน ต่อสงฆ์วีสติวรรค
คือ ๒๐ รูป(๒๑ รูป รวมองค์สวด) เป็นอย่างน้อย ขออัพภานต่อสงฆ์ดังนี้
 |
|
|
|
คำขออัพภาน
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิง
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปริวาสัง ยาจิง ตัสสะ เม
สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โสหัง
ปะริวุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิง
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โสหัง
ภันเต จิณณะมานัตโต สังฆัง อัพภานัง ยาจามิ
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิง
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปริวาสัง ยาจิง ตัสสะ เม
สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โสหัง
ปะริวุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิง
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โสหัง
จิณณะมานัตโต
ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง อัพภานัง ยาจามิ
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิง
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปริวาสัง ยาจิง ตัสสะ เม
สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โสหัง
ปะริวุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิง
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาิสิ โสหัง
จิณณะมานัตโต
ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง อัพภานัง ยาจามิฯ

กรรมวาจาให้อัพภาน
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยัง อิตถันนาโม ภิกขุ
สัมพะหุลา
สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ
ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิโส ปะริวุตถะปะริวาโส
สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ
ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โส จิณณะมานัตโต
สังฆัง อัพภานัง ยาจะติ ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง สังโฆ
อิตถันนามัง ภิกขุง อัพเภยยะ เอสา ญัตติ.
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยัง อิตถันนาโม ภิกขุ
สัมพะหุลา
สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ
ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โส ปะริวุตถะปะริวาโส
สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง
ยาจิ ตัสสะ สังโฆ ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โส
จิณณะมานัตโต สังฆัง อัพภานัง ยาจะติ สังโฆ อิตถันนามัง ภิกขุง อัพเภติ
ยัสสายัสมะโต ขะมะติ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน อัพภานัง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ
นักขะมะติ โส ภาเสยยะฯ
ทุติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยัง
อิตถันนาโม ภิกขุ สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ
ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โส ปะริวุตถะปะริวาโส
สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ ตาสัง
อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โส จิณณะมานัตโต สังฆัง
อัพภานัง ยาจะติ สังโฆ อิตถันนามัง ภิกขุง อัพเภติ ยัสสายัสมะโต
ขะมะติ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน อัพภานัง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ
นักขะมะติ โส ภาเสยยะฯ
ตะติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยัง
อิตถันนาโม ภิกขุ สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปัตติโย อาปัชชิ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ
ตาสัง อาปัตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โส ปะริวุตถะปะริวาโส
สังฆัง ตาสัง อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ ตาสัง
อาปัตตีนัง ฉารัตตัง มานัตตัง อะทาสิ โส จิณณะมานัตโต สังฆัง
อัพภานัง ยาจะติ สังโฆ อิตถันนามัง ภิกขุง อัพเภติ ยัสสายัสมะโต
ขะมะติ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน อัพภานัง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ
นักขะมะติ โส ภาเสยยะฯ
อัพภิโต สังเฆนะ อิตถันนาโม ภิกขุ ขะมะติ
สังฆัสสะ ตัสมา ตุณหี เอวะเมตัง ธาระยามิฯ
 |
 |
|
|

|
|

ระเบียบขั้นตอนการประพฤติวุฒฐานวิธี |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๒.ความหมายของปริวาส
๐ประเภทของปริวาสกรรม
๐ปริวาสสำหรับสงฆ์-คฤหัสถ์
๐ขั้นตอนการประพฤติวุฒฐานวิธี
อ่านต่อ >>
|
๓.ประเภทของปริวาส
๐อัปปฏิฉันนปริวาส
๐ปฏิฉันนปริวาส
๐สโมธานปริวาส
๐สุทธันตปริวาส
อ่านต่อ >> |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๔.เงื่อนไขของปริวาส
๐รัตติเฉท-วตตเภท
๐สหวาโส-วิปวาโส
๐อนาโรจนา
อ่านต่อ >> |
๕.วัตร..บอกวัดร-เก็บวัตร
๐การสมาทานวัตร
๐การบอกวัตร
๐การเก็บวัตร
อ่านต่อ >> |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๖.ขึ้นมานัต
๐สหวาโส -วิปปวาโส
๐อนาโรจนา-อูเน คเณ จรณํ
๐การขอหมู่-สวดหมู่
๐การขอหมู่-สวดเดี่ยว
๐การขอเดี่ยว-สวดเดี่ยว
อ่านต่อ>> |
๗.คำขอปริวาสกรรม
๐คำขอสุทธันตะอย่างจุลสุทธันตะ
๐กรรมวาจาให้สุทธันตปริวาส
๐คำสมาทานปริวาส
๐คำบอกสุทธันตปริวาส
๐การเก็บปริวาส
อ่านต่อ >> |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๘.การขอมานัต
๐คำขอสุทธันตขอมานัต
๐กรรมวาจาให้มานัต
๐คำสมาทานมานัต
๐คำบอกมานัต
๐คำเก็บมานัต
อ่านต่อ >> |
๙.การขออัพภาน
๐คำขออัพภาน
๐กรรมวาจาให้อัพภาน
อ่านต่อ>> |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ภาพกิจกรรมภายในวัด
หลวงพ่อถวิล จนฺทสโร เมตตานำพระภิกษุสงฆ์ รับบิณฑบาตจากอุบาสก-อุบาสิกา ทุกเช้าภายในวัด เวลา ๐๗.๕๐ น.
อ่านต่อ>>
|
ภัตตาหาร-น้ำปานะบริการ..ฟรี
มีภัตตาหารถวายพระ และบริการญาติธรรมตลอดงานปฏิบัติธรรม
อ่านต่อ>> |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๐อาคารที่พักญาติธรรม
มีอาคารที่พักของญาติธรรม ที่ไปร่วมปฏิบัติธรรมแยกต่างหากเป็นสัดส่วน
๐ห้องน้ำ-ห้องสุขา
มีห้องน้ำ-ห้องสุขาภายในวัดประมาณ ๑๐๐ ห้อง
สะอาด สดวก ปลอดภัย อ่านต่อ>> |
|
|
|
|
|
|
|
|